แต่ละแผนก ในปี 1987 Marriott มียอดขายเติบโต 24 % ละ ROE มียอดขาย 22% และรายได้ต่อหุ้นเพิ่มขึ้น 2 เท่า จากเมื่อ4ปีก่อน และกลยุทธ์การดำเนินการมีเป้าหมายตามแนวโน้มนี้ต่อไป รายงานประจำปี 1987 ของ Marriott มีดังนี้ พวกเราตั้งใจว่าบริษัทยังคงเป็นผู้นำการเจริญเติบโต หมายความว่าจะมีโอกาสที่จะพัฒนาสายธุรกิจของบริษัทที่เลือกขึ้น
ดังต่อไปนี้ คือ ห้องเช่า,สัญญาการบริการและธุรกิจที่เกี่ยวข้อง ในแต่ละพื้นที่เป้าหมายของเราจะเป็นนายจ้างที่น่าชื่นชม(เป็นผู้ให้ที่ดี)และเป็นบริษัทที่มีกำไรมากที่สุด Cohrs รู้ว่า อัตราส่วนลดแต่ละแผนกที่ Marriott มีผลกระทบที่สำคัญต่อกลยุทธ์การเงินและการดำเนินการ เป็นกฎหัวแม่มือ(กฎเก่าๆ) อัตราส่วนลดได้เพิ่มขึ้น 1% (ตัวอย่าง จาก 12%เป็น12.12%)ทำให้มูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดเข้าลดลง 1% เพราะต้นทุนยังคงคงที่ มูลค่ากระแสเงินสดเข้าได้แปลงเป็น NPV ของโครงการ ตัวเลขที่แสดงผลกระทบของอัตราส่วนลดต่อ NPV โครงการ ถ้าอัตราส่วนลดเพิ่มขึ้น Marriott ก็จะเติบโตน้อยลง ผลกำไรของโครงการไม่สามารถเกินอัตราส่วนลดได้ ในทางกลับกันถ้าอัตราส่วนลดลดลง Marriott ก็จะเติบโตเร็ว Marriott ตัดสินใจที่จะใช้อัตราส่วนลดเป็นตัวกำหนดค่าชดเชย ค่าความชดเชยรายปีเป็นส่วนหนึ่งของค่าชดเชยทั้งหมด อยู่ในช่วง 30%-50% ของพื้นฐานในการจ่าย หลักการจ่ายโบนัสขึ้นอยู่กับคุณสมบัติหน้าที่การรับผิดชอบงาน แต่บ่อยครั้งประกอบด้วย ระดับรายได้ ความสามารถของผู้จัดการในการจัดการงบประมาณและดูผลงานทั้งหมดขอ
งบริษัทและบางสิ่งที่น่าสนใจ อย่างไรก็ตาม ในส่วนพื้นฐานการกำหนดค่าชดเชย จะเปรียบเทียบ return on net assets ของแต่ละแผนกและ อัตราส่วนลดทางการตลาดของแต่ละแผนก การวางแผนค่าชดเชยจะสะท้อนถึงอัตราส่วนลด ทำให้ผู้จัดการมีแรงจูงใจมากขึ้นที่จะใช้กลยุทธ์การเงินและตลาด
เงินทุนของ Marriott
เบื้องหลังบริษัท บริษัท Marriott เริ่มปี 1927 โดย J.Willard